Category: After Talks

  • เสวนา 79 ปี นิธิ ชาติที่เรา(จะ)รัก [ตอนที่3]

    เสวนา 79 ปี นิธิ ชาติที่เรา(จะ)รัก [ตอนที่3]

    งานเสวนา ชาติที่เรา(จะ)รัก 79 ปี นิธิ เอียวศรีวงศ์ : วันที่ 25 พฤษภาคม 2019 ช่วงที่ 3 หัวข้อ “ชาติที่เราจะรักชาติที่เราจะรัก : ผ่านการมองประวัติศาสตร์ชาติจีน” โดย อาจารย์วาสนา วงศ์สุรวัฒน์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  • เสวนา 79 ปี นิธิ ชาติที่เรา(จะ)รัก [ตอนที่2]

    เสวนา 79 ปี นิธิ ชาติที่เรา(จะ)รัก [ตอนที่2]

    งานเสวนา ชาติที่เรา(จะ)รัก 79 ปี นิธิ เอียวศรีวงศ์ : วันที่ 25 พฤษภาคม 2019 ช่วงที่ 2 หัวข้อ “ชาตินิยมกับปรากฎการณ์ Brexit” โดย อาจารย์ภาณุวัฒน์ พันธุ์ประเสริฐ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

  • เสวนา 79 ปี นิธิ ชาติที่เรา(จะ)รัก [ตอนที่1]

    เสวนา 79 ปี นิธิ ชาติที่เรา(จะ)รัก [ตอนที่1]

    งานเสวนา ชาติที่เรา(จะ)รัก 79 ปี นิธิ เอียวศรีวงศ์ : วันที่ 25 พฤษภาคม 2019 ช่วงที่ 1 หัวข้อ “วิธีการบอก(ไม่)รักชาติบนtwitter” โดย อาจารย์พศุตม์ ลาศุขะ ภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

  • อ่านการเมืองเรื่องภาษากับท่งกุลาลุกไหม้

    อ่านการเมืองเรื่องภาษากับท่งกุลาลุกไหม้

    ถอดเทปเสวนา: อ่านการเมืองเรื่องภาษากับท่งกุลาลุกไหม้

  • จิบชา อ่านหนังสือรับมือ 2019

    จิบชา อ่านหนังสือรับมือ 2019

    เสวนาแนะนำหนังสือ : จิบชา อ่านหนังสือรับมือ 2019

  • ​Through The Thrones

    Through The Thrones : Game of Thrones

  • หญิงร้ายเจ้าเสน่ห์ ‘แห่ง’ และ ‘ใน’ อินโดจีน

    หญิงร้ายเจ้าเสน่ห์ ‘แห่ง’ และ ‘ใน’ อินโดจีน: หญิงพื้นเมืองและผู้หญิงขาว (The Femme Fatale ‘of’ and ‘in’ Indochina: The Native and The White Femme Fatale)   หัวข้อที่ 1: หญิงร้ายเจ้าเสน่ห์ ‘แห่ง’ และ ‘ใน’ อินโดจีน: หญิงพื้นเมืองและผู้หญิงขาว (The Femme Fatale ‘of’ and ‘in’ Indochina: The Native and The White Femme Fatale)   ตัวบทChivas-Baron, Clotilde, Confidences de métisse (Paris: Charpentier et Fasquelle, [1926] 1927).Farrère, Claude, Les Civilisés (Paris:…

  • AUTONOMIA ทุนนิยมความรับรู้ แรงงานอวัตถุ และการเมืองของการปฏิวัติ

    AUTONOMIA ทุนนิยมความรับรู้ แรงงานอวัตถุ และการเมืองของการปฏิวัติ งานเปิดตัวหนังสือ ” AUTONOMIA ทุนนิยมความรับรู้ แรงงานอวัตถุ และการเมืองของการปฏิวัติ ” พร้อมพูดคุยกับผู้เขียน เก่งกิจ กิติเรียงลาภ จากคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่จะมาเล่าเรื่องราว ที่มา และประเด็นเนื้อหาภายในเล่ม ชวนคุยโดย ทัศนัย เศรษฐเสรี จากสาขา สื่อศิลปะและการออกแบบสื่อ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในวันเสาร์ที่ 1 กรกฎาคม 2017 “ขบวนการ Autonomia สามารถอ่านในฐานะเศรษฐศาสตร์การเมือง ปรัชญาการเมือง หรือสังคมวิทยาก็ได้ ความสนใจและคำถามของผมต่อ Autonomia คือมาร์กซิสต์จะยังสามารถใช้อธิบายสังคมปัจจุบันได้หรือไม่ ขบวนการเคลื่อนไหวของแรงงานนั้นตายลงไปแล้วจริงหรือไม่ แล้วเราที่เฉื่อยชาจะสามารถกลายเป็นองค์ประธานของการเปลี่ยนแปลงได้อย่างไร……”– เก่งกิจ กิติเรียงลาภ “ความคิดของ Spinoza ไม่ได้พูดถึงเสรีภาพในสถานะabsolute แต่อธิบายว่าเสรีภาพนั้นอยู่อย่างเกาะเกี่ยวสัมพันธ์กับปัจจัยบางอย่างเสมอ เช่นเดียวกับที่อาจารย์เก่งกิจอธิบายในหนังสือว่าทุกขบวนการนั้นเชื่อมโยงกับปฏิบัติการและบริบทโดยรอบ. ชี้ให้เห็นว่าเสรีภาพแบบมนุษยนิยมที่มองทุกอย่างแยกขั้วชัดเจนนั้นมีปัญหา…….”  – ทัศนัย เศรษฐเสรี “ศักยภาพของมนุษย์หรือพลังทางการผลิตเป็นสิ่งที่มีอยู่ก่อนความสัมพันธ์ทางการผลิต การครอบงำและการขูดรีด……”– เก่งกิจ กิติเรียงลาภ “Autonomia ไม่เคยเชื่อในขบวนการหรือวิธีการต่อสู้ที่เป็นสากลตายตัว แต่เชื่อในการต่อต้านที่เกิดจากการปกป้องการมีชีวิตที่เป็นอิสระ…

  • “สนามรบไร้น้ำตา” KACHIN : Forbidden Land

    “สนามรบไร้น้ำตา” KACHIN : Forbidden Land โดย กรรณิกา เพชรแก้ว นักข่าวไทยที่เข้าถึงใจกลางพื้นที่เขตกบฎคะฉิ่นในพม่า เรื่องเล่าการต่อสู้ของเพื่อนบ้านคะฉิ่นที่มีมาอย่างยาวนาน หลังจากพม่าได้รับเอกราชจากอังกฤษในปี 1947 แม้ว่าพม่าต้องการรวบรวมชนกลุ่มน้อยต่างๆเข้าไว้ด้วยกัน แต่ชนกลุ่มน้อยที่กระจายตัวในประเทศพม่าไม่ได้ยอมรับการอยู่ใต้อำนาจการปกครอง ซึ่งก่อให้เกิดจากปัญหาการต่อสู้ระหว่างชนกลุ่มน้อยกับพม่ายาวนานมาตั้งแต่ปี 1950 หนึ่งในนั้นคือรัฐคะฉิ่น ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีการสู้รบมาอย่างยาวนาน ทำให้ชาวคะฉิ่นในพื้นที่จำเป็นจะต้องหลบภัยสงคราม ก่อให้เกิดปัญหายืดเยื้อที่เป็นผลกระทบต่อประชากรคะฉิ่น เช่นการหลบหนีภัยสงคราม อาหารและยารักษาโรคที่มีไม่เพียงพอ

  • สหรัฐอเมริกาและระเบียบโลกใหม่ภายใต้โดนัล ทรัมป์ : The Dark (k)night rises?

    สหรัฐอเมริกาและระเบียบโลกใหม่ภายใต้โดนัล ทรัมป์ : The Dark (k)night rises? เสวนาหัวข้อ “สหรัฐอเมริกาและระเบียบโลกใหม่ภายใต้โดนัล ทรัมป์ : The Dark (k)night rises?” ฟังการวิเคราะห์ความเป็นไปของอเมริกาภายใต้ประธานาธิบดีคนใหม่ ที่ปฏิเสธไม่ได้ว่าได้สร้างแรงสั่นสะเทือนไปถึงนานาประเทศ ร่วมเสวนาโดย อาจารย์สิริพรรณ นกสวน สวัสดี อาจารย์วรรณภา ลีระศิริ ที่ศึกษาเชียวชาญการเมืองอเมริกา

Design a site like this with WordPress.com
Get started